วันที่: 20-08-2018
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่
T.086-4624228
หรือ
สแกนบาร์โค๊ด เพื่อเพิ่มเพื่อนไลลน์
คลิ๊ก Add Friends เพื่อเพิ่มเพื่อนไลน์
ภูมิคุ้มกัน ที่แข็งแรง คือเกาะป้องกันร่างกายจากภายในที่ดีที่สุด
มะเร็ง สามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่
จากรายงานของสมาคมต่อต้านโรคมะเร็งของอเมริกาได้เคยรายงานไว้ว่า ใน
ปัจจุบันนี้มีประชากรชาวอเมริกันเป็นจำนวนมากกว่า 5 ล้านคนซึ่งเคยเป็นโรค
มะเร็งมาก่อนและได้รับการรักษาให้หายเรียบร้อยดีแล้วเป็นเวลาเกินกว่า5 ปี
ละทุกรายที่รอดชีวิตนี้ เป็นผู้ป่วยมะเร็งในระยะแรกเริ่มทั้งสิ้นผู้ป่วยมะเร็งที่มีชีวิต
รอดหลังการรักษาเกินกว่า 5 ปี ถือว่า "หาย" การกำหนดระยะเวลา 5 ปี
เพราะว่าโรคมะเร็งส่วนใหญ่มักจะกำเริบหรือกลับเป็นใหม่อีกภาย
ในระยะเวลา 5 ปีหลังรักษา
สำหรับในประเทศไทย จากรายงานของสถาบันมะเร็งโรงพยาบาลศิริราชพบว่า
ผู้ป่วยมะเร็งในระยะแรกเริ่มได้รับการรักษาจนหายขาด และยังมีชีวิต
และปฏิบัติการงานได้อย่างสมบูรณ์เหมือนบุคคลทั่วๆไปเป็นจำนวนมากมายหลัง
การรักษา 10-20 ปี และต่อมาอาจจะเสียชีวิตจากสาเหตุ
หรือโรคอื่นที่มิใช่จากโรคมะเร็ง
การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง แพทย์มีจุดมุ่งหมายของการรักษา 2 ประการ คือ
1. การรักษาเพื่อมุ่งหวังให้โรคหายขาด
การรักษาจะอยู่ในวงจำกัดที่โรคมะเร็งยังอยู่ในระยะเพิ่งเริ่มเป็นเท่านั้น
วิธีการรักษาไม่ว่าจะเป็นการผ่าตัด หรือการใช้รังสีรักษาก็ตามจะต้องอาศัย
ผู้เชี่ยวชาญ โดยเฉพาะอาศัยเครื่องมือ และเทคนิคของ
การรักษาอย่างละเอียด และแม่นยำ
2. การรักษาเพื่อบรรเทาอาการชั่วคราว
สำหรับผู้ป่วยอยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว ซึ่งสำหรับผู้ป่วยแพทย์จะให้การรักษา
แบบนี้มากกว่า 90%การรักษามิได้มุ่งหวัง ที่จะทำให้โรคหายขาดแต่เพื่อทำให้
ผู้ป่วยสบายขึ้นชั่วคราว หรือทุเลาจากอาการต่างๆ เท่านั้น
วิธีการรักษาโรคมะเร็ง ในปัจจุบันมีใช้กันอยู่ 6 วิธี คือ
1. การผ่าตัด
เป็นวิธีการรักษาที่ได้ทั้งการมุ่งหวังให้โรคหายขาดในกรณีที่โรคยังเป็นน้อย
และเพื่อเป็นการบรรเทาอาการชั่วคราว ในกรณีที่โรคเป็นมากแล้ว
ในปัจจุบันนี้ศัลยแพทย์ผู้ผ่าตัดรักษาโรคมะเร็งจะต้องชำนาญและ
ฝึกฝนมาทางด้านนี้โดยเฉพาะ
วิธีการผ่าตัด อาจจะตัดเอาเฉพาะก้อนมะเร็งออกเท่านั้น หรือเลาะเอาต่อมน้ำ
เหลือง และเนื้อเยื่อที่ดีบริเวณใกล้เคียงออกไปด้วย นอกจากจะผ่าตัดโดย
ใช้มีดผ่าธรรมดาแล้วในปัจจุบันยังได้มีวิวัฒนาการโดยการผ่าตัดด้วยมีดไฟฟ้า
การผ่าตัดโดยใช้ความเย็น ระหว่าง -๒๐ ถึง - ๑๕๐ องศาเซสเซียส การ
ผ่าตัดร่วมกับการใช้ยาจี้ให้ผิวหนังไหม้ในการรักษามะเร็งผิวหนัง
และการใช้แสงเลเซอร์แทนมีดผ่าตัด
2. รังสีรักษา
เป็นวิธีการรักษาที่ใช้ได้ทั้งการมุ่งหวังให้โรคหายขาด
และเพื่อการบรรเทาอาการชั่วคราวผู้ป่วยมะเร็งมักจะได้รับการรักษาด้วยรังสี
เพราะอยู่ในระยะที่เป็นมากแล้ว และการรักษาด้วยรังสี เพื่อบรรเทาอาการ
รังสีที่ใช้รักษาโรคมะเร็งมี 2 กลุ่มใหญ่ คือ
2.1 รังสีโฟตอน
ซึ่งมีพลังงานทะลุทะลวงระหว่า 1.24 กิโลโวลต์ ถึง 12.4 เมกะโวลต์
มีขนาดของคลื่นรังสีระหว่าง 10-0.001 อังสตรอม
2.2 รังสีอนุภาค
ส่วนใหญ่ได้จากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี หรือจากเตาปฏิกรณ์ปรมาณู
และโดยทั่วไปแล้ว รังสีพวกนี้จะมีพลังงานทะลุทะลวง
และอีกแบบหนึ่ง อยู่ในรูป ของต้นกำเนิดรังสี อยู่ภายในร่างกายของผู้ป่วยได้แก่
การฝังแร่เรเดียมในการรักษามะเร็งในช่องปาก
การสอดใส่แร่เรเดียมในการรักษามะเร็งปากมดลูก หรือการใช้ไอโอดีน 131
รับประทานในการรักษามะเร็งต่อมไธรอยด์ เป็นต้น
3. การใช้สารเคมีบำบัด
การรักษาในรูปของการใช้ยารักษามะเร็งกำลังเป็นที่สนใจ และมีบทบาทสำคัญ
ในปัจจุบันนี้ มีมะเร็งหลายชนิด ที่อาจรักษาให้หายขาดด้วยยา
แต่ส่วนใหญ่จะใช้เฉพาะในรายที่เป็นมากแล้ว เพื่อเป็นการรักษา
เพื่อบรรเทาอาการเท่านั้น
การใช้ยารักษามะเร็ง อาจจะแบ่งได้ตามวิธีใช้ คือ
ก. การใช้ยาเฉพาะที่ เช่น ในรูปของการใช้ทา การฉีดเข้าไขสันหลัง
ข. การใช้ยาให้ซึมซาบทั่วร่างกาย เช่น ในรูปของการใช้รับประทาน
การใช้ฉีดยาเข้าหลอดเลือด
หรืออาจจะแบ่งตามรูปแนวการรักษา คือ
ก. ใช้เป็นการรักษาหลักคืใช้ยา(ชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ได้) รักษาเพียงวิธีเดียว
อาทิเช่นการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
ข. ใช้ร่วมกับการรักษาวิธีอื่น เพื่อหวังผลการรักษามากขึ้น เช่น การให้ยารักษา
ภายหลังการผ่าตัด เพื่อหวังในการป้องกันการแพร่กระจาย
ยารักษามะเร็งในรูปของยารับประทานหรือยาฉีดยารักษามะเร็ง
ในรูปของยารับประทานหรือยาฉีด
การใช้ยา อาจจะใช้ยาเพียงชนิดเดียว หรือหลายชนิดร่วมกันก็ได้
สำหรับในประเทศไทยการรักษาโดยวิธีนี้ยังอยู่ในวงจำกัด
เพราะยาพวกนี้ ส่วนใหญ่มีราคาแพงมาก บางชนิดก็ยังไม่มีจำหน่าย
และมีพิษรุนแรง และมีผลแทรกซ้อน จากการรักษามาก
4. การใช้การรักษาทั้ง 3 วิธีกล่าวมาแล้วร่วมกัน
ในปัจจุบันนี้การรักษาโรคมะเร็ง ได้ก้าวผ่านการรักษาตามอาการ และการรักษา
เพื่อบรรเทาเข้ามาสู่การรักษา เพื่อมุ่งหวังให้โรคหายขาดมากขึ้น
แต่เดิมการรักษามักจะกระทำโดยแพทย์เฉพาะทางฝ่ายเดียว
เมื่อการรักษาล้มเหลว
จากวิธีใดวิธีหนึ่งแล้ว จึงเปลี่ยนมาเป็นอีกวิธีหนึ่ง
ทำให้ผลการรักษาไม่ดีเท่าที่ควร ในปัจจุบันนี้
จึงนิยมใช้วิธีการรักษาหลายๆ วิธีร่วมกัน เพื่อให้ผลการรักษาดีขึ้น หรือสะดวกขึ้น
5. การรักษาโดยการเสริมภูมิคุ้มกัน(ภูมิคุ้มกันบำบัด
เป็นวิธีการรักษาที่เพิ่งจะสนใจ และเริ่มใช้กันในวงการแพทย์เมื่อไม่นานมานี้
และนับวันจะยิ่งมีบทบาทมีความสำคัญในการรักษาโรคมะเร็ง
มากขึ้นเรื่อยๆ โดยอาศัยหลักที่ว่า ผู้ที่เป็นมะเร็งนั้น
เนื่องจากว่าร่างกายไม่สามารถที่จะค้นพบว่า
ที่ผิวของผนังด้านนอกของเซลล์มะเร็ง มีแอนติเจนที่เรียกว่า ทีเอเออยู่
หรือในกรณีที่ร่างกายสามารถจะค้นพบแอนติเจนนี้
แต่ร่างกายไม่สามารถจะสร้างภูมิคุ้มกัน หรือแอนติบอดีไปต่อต้าน
หรือทำลายแอนติเจนนี้จะเป็นเพราะระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายล้มเหลว
หรือมีอะไรไปยับยั้งในการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ฉะนั้น การกระตุ้นให้ร่างกายสามารถจะค้นหาแอนติเจนจากเซลล์มะเร็งได้ห
รือการกระตุ้นให้ร่างกายมีการสร้างภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นจะโดยทางตรง
หรือทางอ้อมก็ตาม ก็น่าที่จะให้มะเร็งที่กำลังเป็นผู้อยู่ในบุคคลผู้นั้นมีการฝ่อตัวลง
หรือหยุดการเจริญเติบโต หรือโตช้าลงการทำวัคซีนมะเร็ง สำหรับฉีดเข้าร่างกายผู้ป่วยมะเร็ง
การทำวัคซีนมะเร็งสำหรับฉีดเข้าร่างกายผู้ป่วยมะเร็ง
และปัจจุบัน จะมีการใช้ผลิตภัณฑ์ สำหรับ เสริมภูมิคุ้มกัน
ที่เรียกว่า Transfer Factor (ทรานสเฟอรฺ์ แฟกเตอร์ )
Transfer Factor
เป็นสารสกัดธรรมชาติ 100% ไม่มีผลข้างเคียง , ช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน
ใช้คู่กับการรักษาทางหมอได้ ช่วยลดผลข้างเคียงของรังสีและเคมี
ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของ NK-CELL
สามารถช่วยต้านเชื้อโรค อื่นๆได้ ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ เป็น นวัตกรรม
ที่มีผลงานวิจัยรองรับ
Transfer Factor เหมาะกับใคร
ผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็ง หรือ เป็นผู้ป่วยมะเร็ง ทุกชนิด
ผู้ป่วยที่อยู่ในช่วงการรักษาทางแพทย์แผนปัจุบัน ทุกรูปแบบ
ผู้ป่วย ที่ต้องการเสริมสุขภาพ เตรียมความพร้อม ของร่างกายก่อน รับเคมีและรังสี
ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการรับการรักษาโดยเคมีบำบัดหรือรังสี
เพื่อลดผลข้างเคียงเคมีบำบัด
คลิ๊ก Add Friends เพื่อเพิ่มเพื่อนไลน์
ดูข้อมูลผลิตภัณฑ์ สำหรับดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยมะเร็ง คลิ๊ก
Transfer Factor ต้านมะเร็งได้อย่างไร?
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ ไม่ได้มีฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็
ในร่างกายคนปกติ จะมีปริมาร NK cells ที่เพียงพอ และมีประสิทธิภาพของระบบภูมิคุ้
จากการศึกษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง 10
ประสิทธิ
ผู้ป่วยเรื้อรัง จากการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อแบคทีเรีย Staph, ไซนั
ผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง จะมีระดับประสิทธิ
ดังนี้ จึงกล่าวได้ว่า ผู้ป่วย โรคมะเร็ง และโรคติดเชื้อ ที่มีภาวะประสิทธิ
จากการศึกษาในผู้ใหญ่ อายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป จำนวน 3642 คน พบว่า ผู้ที่มีระดับประสิทธิ
(หมายเหตุ:การใช้ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ ไม่ใช่ยารักษาและผลการใช้ ของแต่ละบุคคลอาจแตกต่างกัน)
สอบถาม รายละเอียด เกี่ยวกับ Transfer Factor ประโยชน์และวิธีการใช้ ทรานสเฟอร์แฟกเตอร์
สำหรับเสริมสร้าง ระบบภูมิคุ้มกัน และเสริมสุขภาพ หรือแก้ปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกั
Tel.086-4624228 หรือ 081-3541158
-
นำ ทรานสเฟอร์แฟคเตอร์ มาผสมกับสารสกัด ของสมุนไพรที่มีประโยชน์
ในสูตร ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์
1.ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor)
คือ ตัวเสริมภูมิคุ้มกันที่ล้ำ
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor) : โมเลกุลขนาดเล็กที่ช่
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor) : ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ คือโปรตีนขนาดเล็กที่“ส่งผ่าน”
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor) : ไม่ใช่วิตามินไม่ใช่
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor) : เป็นกุญแจสำคัญของสุ
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor) : มีน้ำหัวน้ำ
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ : เปรี
ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ คือ สายโมเลกุลเปปไทด์ที่
ลักษณะการทำงานของทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ อธิบายให้ง่าย คือ ความสามารถในการส่งผ่านภูมิคุ้
เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ก็จะตอบสนองอย่างรวดเร็
1. ทำความรู้จัก Recognize คือ ทำความรู้จักกับเชื้อโรคหรือสิ่
2. ทำการโต้ตอบและทำลาย React (Respond) คือ การเตรียมการและจัดการโจมตีเชื้
3. จดจำเชื้อโรคและสารแปลกปลอมนั้
ลักษณะการทำงานของทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ อธิบายให้ง่าย คือ ความสามารถในการส่งผ่านภูมิคุ้
กล่าวคือ ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ จะช่วยเร่งความเร็วของขั้
เมื่อร่างกายมีการติดเชื้อไวรัส จะส่งสัญญาณให้ระบบภูมิคุ้มกัน หลั่งสาร Cytokine ออกมากระตุ้
แต่ถ้าร่างกายได้รับ ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ (Transfer Factor) NK Cells จะเริ่มกำจัดเชื้อไวรั
2.คอร์ดิเซ็พส์ (cordyceps sinensis)
Cordyceps เป็นเห็
Cordyceps มีประสิทธิภาพสู
Cordyceps มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง และเนื้องอก (Chen et al., 1997; Kuo et al., 1994; Yoshida ,1989) มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ (Li et al., 2001) ลด Cholesterol และป้
ใน Cordyceps พบสารกลุ่
ประโยชน์ทางยาของ Cor
อ้างอิง: Institute for Natural Products Research, Cordyceps Monograph
3.สารสกัดจากใบมะกอก (Olive ฟleaf Extract)
ใบมะกอกใช้ทั่วไปในการรั
ใบมะกอกมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิ
Oleuropein (สารโอลิวโรเปอีน) เป็นสารที่ช่
เนื่องจากใบมะกอกมี
อ้างอิง: Olive Leaf, Wikipedia, the free encyclopedia
4.เห็ดไมตาเกะ (Maitake Mushroom)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Glifola frondosa
กริโฟแลนด์ (Grifolan) และ ดีแฟรกชั่น (D-fraction) เป็นโพลีแซคคาไลด์ (โมเลกุลที่ประกอบด้วยโมเลกุ
5.เห็ดชิตาเกะ (Shitake Mushroom)
เห็ตชิตาเกะถูกใช้
6.สังกะสี (Zinc)
สังกะสีเป็นเกลื
7.เห็ดบลาซีอิ (Agaricus-Blazei Mushroom)
จากการศึกษาวิจัยร่
8.สารสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Bean Extract)
สารสกัดจากถั่วเหลื
9.เบต้ากลูแคน
10.IP6
11.สารสกัดจากว่านหางจรเข้
(หมายเหตุ:การใช้ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ ไม่ใช่ยารักษาและผลการใช้ ของแต่ละบุคคลอาจแตกต่างกัน)
สอบถาม รายละเอียด เกี่ยวกับ Transfer Factor ประโยชน์และวิธีการใช้ ทรานสเฟอร์แฟกเตอร์
สำหรับเสริมสร้าง ระบบภูมิคุ้มกัน และเสริมสุขภาพ หรือแก้ปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกั
Tel.086-4624228
คลิ๊ก ดูข้อมูลผลิตภัณฑ์สำหรับดูแลสุขภาพผู้ป่วยมะเร็ง
|
|
|