Support
4lagroup
ติดต่อ T.086-4624228
Your shopping cart
ดูตะกร้าสินค้าของคุณ
ไม่มีสินค้าในตะกร้าของคุณ

วิธีดูแล และ รักษา ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง(HIV)

วันที่: 2021-11-09 13:05:31.0

 

 

 

 

 

 

 

 

 

      ชี้เป้าถุงยางอนามัย ยอดนิยม

 

   

 

    

  เช็คราคา  

 

 

  เช็คราคา  

 

 

  

 

 

 

 

 

      โรคเอดส์ คืออะไร

 

          โรคเอดส์ หรือโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง AIDS( Acquired Immune Deficiency Syndrome)

 

 

  เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ชื่อว่า ฮิวแมนอิมมิวโนเดฟีเซียนซีไวรัส (Human

 

 Immunodeficiency Virus :HIV) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า เชื้อ HIV โดยเชื้อเอชไอวีจะเข้าไป

 

 ทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีหน้าที่สร้างภูมิคุ้มกันโรค ทำให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อมีภูมิคุ้มกันต่ำ
 

 ลง จนร่างกายไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคได้อีก โรคต่าง ๆ (หรือเรียกอีกนัยหนึ่งว่า โรค

 

 ฉวยโอกาส) จึงเข้ามาซ้ำเติมได้ง่าย เช่น วัณโรค ปอดบวม ติดเชื้อในระบบโลหิต เชื้อรา

 

 และทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด



   สายพันธุ์ของโรคเอดส์

          เชื้อไวรัสเอดส์มีหลายสายพันธุ์ โดยสายพันธุ์หลักดั้งเดิมคือ เอชไอวี-1 (HIV-1)

 

ซึ่งแพร่ระบาดในแถบสหรัฐอเมริกา ยุโรป และแอฟริกากลาง, เอชไอวี-2 (HIV-2) พบแพร่

 

ระบาดในแถบแอฟริกาตะวันตก นอกจากนี้ยังพบสายพันธุ์อื่น ๆ ที่กลายพันธุ์มาอีกมากมาย

 

 

 

 

 โรคเอดส์ ติดต่อได้อย่างไร


เอดส์ สามารถติดต่อได้โดย

           1. การร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อเอดส์ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ทั้งชายกับชาย หญิงกับ

 

หญิง หรือชายกับหญิง จะเป็นช่องทางธรรมชาติหรือไม่ธรรมชาติก็ตาม ล้วนมีโอกาสเสี่ยง

 

ต่อการติดโรคเอดส์ทั้งนั้น ซึ่งมีข้อมูลจากกองระบาดวิทยาระบุว่า ร้อยละ 83 ของผู้ติดเชื้อ

 

เอดส์ รับเชื้อมาจากการมีเพศสัมพันธ์

           2. การรับเชื้อทางเลือด โอกาสติดเชื้อเอดส์ พบได้ 2 กรณี คือ

          - ใช้เข็มฉีดยา หรือกระบอกฉีดยา ร่วมกับผู้ติดเชื้อ เอดส์ มักพบในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้น

          - รับเลือดมาจากการผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด แต่ปัจจุบันเลือดที่ได้

รับการบริจาคมา จะถูกนำไปตรวจหาเชื้อเอดส์ก่อน จึงมีความปลอดภัยเกือบ 100%



           3. ติดต่อผ่านทางแม่สู่ลูก เกิดจากแม่ที่มีเชื้อเอดส์และถ่ายทอดให้ทารก ในขณะ

 

ตั้งครรภ์ ขณะคลอด และภายหลังคลอด ปัจจุบันมีวิธีป้องกันการแพร่เชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก

 

โดยการทานยาต้านไวรัสในช่วงตั้งครรภ์ จะสามารถลดโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์

 

เหลือเพียง8%แต่ยังคงมีความเสี่ยงอยู่ วิธีที่ดีที่สุดคือ การตรวจเลือดก่อนแต่งงาน



          นอกจากนี้ โรคเอดส์ ยังสามารถติดต่อผ่านทางอื่นได้ แต่โอกาสมีน้อยมาก เช่น

 

การใช้ของมีคมร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์ โดยไม่ทำความสะอาด, การเจาะหูโดยการใช้เข็ม

 

เจาะหูร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์, การสักผิวหนัง หรือสักคิ้ว เป็นต้น ซึ่งวิธีดังกล่าวเป็นการ

 

ติดต่อโดยการสัมผัสกับเลือด หรือน้ำเหลืองโดยตรง แต่โอกาสติดโรคเอดส์ด้วยวิธีนี้ต้อง>มีแผลเปิด และปริมาณเลือดหรือน้ำเหลืองที่เข้าไปใน

 

ร่างกายต้องมีจำนวนมากปัจจัยที่ทำให้ติดเชื้อเอดส์ปัจจัยที่ทำให้ติดเชื้อเอดส์ มีหลายประการ

คือ

1. ปริมาณเชื้อเอดส์ที่ได้รับ หากได้รับเชื้อเอดส์มาก โอกาสติดโรคเอดส์ก็จะสูงขึ้นไปด้วย โดยเชื้อเอดส์ จะพบมากที่สุดในเลือด รองลงมาคือ น้ำอสุจิ และน้ำในช่องคลอด

 

2. หากมีบาดแผล จะทำให้เชื้อเอดส์เข้าสู่บาดแผล และทำให้ติดโรคเอดส์ได้ง่ายขึ้น

 

3. จำนวนครั้งของการสัมผัส หากสัมผัสเชื้อโรคบ่อย ก็มีโอกาสจะติดเชื้อมากขึ้นไปด้วย

 

4. การติดเชื้ออื่น ๆ เช่น แผลริมอ่อน แผลเริม ทำให้มีเม็ดเลือดขาวอยู่ที่แผลจำนวนมาก จึงรับเชื้อเอดส์ได้ง่าย และเป็นหนทางให้เชื้อเอดส์เข้าสู่แผลได้เร็วขึ้นที่จะรับเชื้อได้ง่ายขึ้น;ระยะต่างๆของผู้ติดเชื้อ HIV

 

 

โรคเอดส์ มีกี่ระยะ เมื่อติดเชื้อเอดส์แล้ว จะแบ่งช่วงอาการออกเป็น 3 ระยะ

 

 1. ระยะไม่ปรากฎอาการ หรือระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อจะไม่แสดงอาการผิดปกติใด ๆ ออกมา จึงดูเหมือนคนมีสุขภาพแข็งแรงเหมือนคนปกติ แต่อาจจะเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จากระยะแรกเข้าสู่ระยะต่อไปโดยเฉลี่ยใช้เวลาประมาณ 7-8 ปี แต่บางคนอาจไม่มีอาการนานถึง 10 ปี จึงทำให้ผู้ติดเชื้อสามารถแพร่เชื้อต่อไปให้กับบุคคลอื่นได้ เนื่องจากส่วนใหญ่ไม่ทราบว่าตนเองติดเชื้อ

 

2. ระยะมีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ (Aids Related Complex หรือ ARC) หรือระยะเริ่มปรากฏอาการ(Symptomatic HIV Infection) ในระยะนี้จะตรวจพบผลเลือดบวก และมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นให้เห็น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่งติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน, มีเชื้อราในปากบริเวณกระพุ้งแก้ม และเพดานปาก, เป็นงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม และมีอาการเรื้อรังนานเกิน 1 เดือน โดยไม่ทราบสาเหตุ เช่น มีไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด เป็นต้น ระยะนี้อาจเป็นอยู่นานเป็นปีก่อนจะกลายเป็นเอดส์ระยะเต็มขั้นต่อไป

 

3. ระยะเอดส์เต็มขั้น (Full Blown AIDS) หรือ ระยะโรคเอดส์ในระยะนี้ภูมิคุ้มกันของร่างกายจะถูกทำลายลงไปมาก ทำให้เป็นโรคต่าง ๆ ได้ง่าย หรือที่เรียกว่า โรคติดเชื้อฉวยโอกาสซึ่งมีหลายชนิด แล้วแต่ว่าจะติดเชื้อชนิดใด และเกิดที่ส่วนใดของร่างกาย หากเป็นวัณโรคที่ปอด จะมีอาการไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด ถ้าเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน หากเป็นโรคเอดส์ของระบบประสาทก็จะมีอาการความจำเสื่อม ซึมเศร้า แขนขาอ่อนแรง เป็นต้น ส่วนใหญ่เมื่อผู้เป็นเอดส์เข้าสู่ระยะสุดท้ายนี้แล้วโดยทั่วไปจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1-2 ปี

ผู้ที่ควรตรวจหาเชื้อเอดส์

 

- ผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง และต้องการรู้ว่าตนเองติดเชื้อเอดส์หรือไม่

 

- ผู้ที่ตัดสินใจจะมีคู่หรืออยู่กินฉันสามีภรรยา

 

- ผู้ที่สงสัยว่าคู่นอนของตนจะมีพฤติกรรมเสี่ยง

 

- ผู้ที่คิดจะตั้งครรภ์ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของทั้งแม่และลูก

 

- ผู้ที่ต้องการข้อมูลสนับสนุนเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพของร่างกาย เช่น ผู้ที่ต้องการ

 

ไปทำงานในต่างประเทศ (บางประเทศ)


 

หากสงสัยว่า รับเชื้อเอดส์มา ไม่ควรไปตรวจเลือดทันที เพราะเลือดจะยังไม่แสดงผลเป็

 

บวก ควรตรวจภายหลังจากสัมผัสเชื้อแล้ว 4 สัปดาห์ขึ้นไป จึงจะได้ผลที่แม่นยำ

 

 

 

 

 

 

สิ่งที่ควรปฏิบัติหากได้รับเชื้อเอดส์

 

ผู้ที่เป็นโรคเอดส์ สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติ และควรดูแลสุขภาพให้ดี ไม่ควรวิตก

 

กังวล เพราะหากไม่มีโรคแทรกซ้อนจะสามารถมีชีวิตยืนยาวไปได้อีกหลายปี

 

มีข้อปฏิบัติคือ

 

1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบถ้วน เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง

 

2. รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ด้วยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

 

3. หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ หรือหากมีเพศสัมพันธ์ ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง เพื่อ

 

ป้องกันการรับเชื้อ หรือแพร่เชื้อเอดส์

 

4. งดการบริจาคเลือด อวัยวะ และงดใช้สิ่งเสพติดทุกชนิด

 

5. หากเป็นหญิง ไม่ควรตั้งครรภ์ เพราะเชื้อเอดส์สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ถึง 30%

 

6. ทำจิตใจให้สงบ ไม่เครียด ไม่กังวล รวมทั้งอาจฝึกสมาธิ

 

7. อยู่ในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก

 

8.งดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

9.งดการสูบบุหรี่

 

10.งดการรับประทานของดิบของดองและของที่ไม่สะอาด

 

 

 

 

 

 

 

ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับโรคเอดส์

 

จากข้อมูลทางการแพทย์ระบุชัดว่า เชื้อเอชไอวีไม่สามารถแพร่สู่กันได้โดยการติดต่อใน

 

ชีวิตประจำวันกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี และไม่สามารถติดต่อกันได้ผ่านทางการกอด การสัมผัส

 

มือที่เป็นการทักทายแบบชาวตะวันตก หรือการปฏิสัมพันธ์ภายนอกอื่น เช่น การใช้ห้องน้ำ

 

ร่วมกัน การใช้เตียงนอนร่วมกัน การใช้อุปกรณ์รับประทานอาหารหรือรถแท็กซี่ร่วมกัน

 

นอกจากนี้ เอชไอวีไม่ใช่โรคติดต่อทางอากาศเหมือนกับไข้หวัด และไม่ติดต่อผ่านทาง

 

แมลง หรือ ยุง โดยทั่วไปแล้วเชื้อเอชไอวีติดต่อกันผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่

 

ปลอดภัย มีข้อมูลยืนยันชัดเจนว่ากว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ของผู้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวีติดจากการ

 

มีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน การแลกเปลี่ยนของเหลวในร่างกาย เช่น อสุจิ เลือด หรือ

 

ของเหลวในช่องคลอด นอกจากนี้เชื้อเอชไอวียังสามารถติดต่อผ่านทางการใช้เข็ม หรือ

 

อุปกรณ์ฉีดยาร่วมกันของผู้ใช้ยาเสพติด ขณะที่ผู้หญิงตั้งครรภ์สามารถแพร่เชื้อไปสู่ลูกได้

 

ในระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่ต้องการ

 

 

 

 

 

 

ผู้ติดเชื้อ HIV หรือ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง สามารถขอคำปรึกษา

 

วิธีการดูแลสุขภาพและ ปฎิบัติตัว การดูแลตัวเอง

 

และ การใช้ Transfer Factor ในการดูแลสุขภาพ

 

ใช้ช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้นกันให้สูงขึ้น และเพิ่ม CD4 ให้สูงขึ้น 

 

ช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อฉวยโอกาส และลดผลข้างเคียงของยาต้าน

 

 

 

ด้รับการรับรองทางการแพทย์ในระดับสากุล

 

ได้รับการบรรจุให้อยู่ในหนังสือ PDR 

 

 

หนังสือ PDR คือหนังสืออ้างอิงแพทย์ ที่แพทย์ใช้ในการค้นหาและแนะนำยา หรืออาหารเสริม

 

 

 เป็นสารธรรมชาติ ไม่มีสารเคมี

 

เป็นผลิตภัณฑ์ จากประเทศอเมริกา ที่ได้รับอนุมัติให้ใช้ใน รพ.ประเทศรัสเซียได้

 

 

Transfer Factor

 

เป็นสารสกัดธรรมชาติ 100% ไม่มีผลข้างเคียง , ช่วยเพิ่ม CD4  ต่อต้าน HIV

 

ทานคู่ยาต้านไวรัสได้ ช่วยลดผลข้างเคียงยาต้าน ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

 

ป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน เมื่อมี CD4 เพียงพอ ก็ สามารถต้านเชื้อโรค อื่นๆได้

 

ทรานสเฟอร์ แฟคเตอร์ เป็น นวัตกรรม ที่มีผลงานวิจัยรองรับ

 

 

Transfer Factor เหมาะกับใคร    

 

ผู้ที่มีความเสี่ยง หรือ คิดว่าตัวเองติดเชื้อ HIV แต่ยังไม่ไปตรวจ

 

ผู้ที่พึ่งได้รับเชื้อ HIV และยังไม่ได้รับยาต้านไวรัส HIV

 

ผู้ติดเชื้อ HIV ที่ได้รับยาต้านแล้ว

 

ผู้ที่ได้รับผลข้างเคียงจาก ยาต้านไวรัส และมีโรคแทรกซ้อนต่างๆ

 

 

 

 

 

 

 

สอบถามและขอรายละเอียดข้อมูล เกี่ยวกับ Transfer Factor

 

ได้ที่ T.086-4624228 

 

 

 

  

 

 แบ่งปันประสบการณ์ของผู้ที่ใช้ ทรานสเฟอร์แฟกเตอร์

 

 ในการการดูแลสุขภาพ และช่วยเสริมระบบภูมิคุ้มกัน และ ช่วยเพิ่ม CD4

 

 และมีผลทำให้จำนวนไวรอลโหลด หรือจำนวนไวรัสลดลง

 

 ทำให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น ผิวพรรณดูสดใสขึ้น ช่วยอาการ เป็นตุ่มหรือผื่นดำ 

 

 และทำให้ผู้ติดเชื้อ  สามารถใช้ชีวิต อยู่ในสังคมกับคนทั่วไปได้ ตามปกติ

 

  

 

 

 

 

 

ใช้ ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ จากที่อาการทรุดลงมาก

 

ปัจุบันร่างกายแข็งแรงปกติ และสามารถไปทำงานได้ตามปกติแล้ว 

(ผลลัพธ์การใช้ อาจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคลคน)

 

 

 

 

 

 

ใช้ ทรานสเฟอร์ แฟกเตอร์ แล้วทำให้มี ระดับ CD4 สูงขึ้น 

(ผลลัพธ์ของแต่ละคนอาจะมีความแตกต่างกัน)

 

 

 

 

ใช้ Transfer Factor ทำให้มีน้ำหนัก ที่เพิ่มขึ้น และแข็งแรงขึ้น

(ผลลัพธ์ของแต่ละคนอาจะแตกต่างกันไป)

 

 

 

 

 .ใช้ Transfer Factor แล้วทำให้ อาการตุ่มคันที่พุพองลดลง

(ผลลัพธ์การใช้ ของแต่ละคนอาจะแตกต่างกัน)

 

 

 

 

 

 

 

 

สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับ Transfer Factor สำหรับผู้ติดเชื้อ ได้ที่

 

สแกนบาร์โค๊ดเพื่อเพิ่มเพื่อนไลน์

 

  

 

คลิ๊ก Add Friend เพื่อเพิ่มเพื่อนไลน์

 

 

 

 

คลิ๊กเพิ่มเพื่อน

 

คลิ๊ก Add Friends  เพื่อเพิมเพื่อนไลน์