วันที่: 29-09-2018
ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุ
เชื้อหรือโรคที่ไม่ติดเชื้อลดลงไป กว่าเดิม ขณะเดียวกัน ยังมีประชาชนจำนวนมากที่เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ อาทิ โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคทางระบบหายใจ โรคต่อมไร้ท่อ หรือโรคทางด้านจิตและประสาท รวมไปถึงคนที่ติดเชื้อเอดส์เพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่ส่งเสริมทำให้การเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมหรือการได้รับสารอาหารที่ไม่ถูกวิธีหรือไม่มี ประโยชน์ รวมไปถึง
การได้รับยาจากโรคที่ได้รับหรือพฤติกรรมและความเครียดที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำวันตลอดเวลา สิ่งเหล่านี้จึงเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้ระบบภูมิคุ้ม
กันในร่างกายบกพร่องได้
การได้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถช่วยทำให้ระบบภูมิ คุ้มกันในร่างกายทำงานได้เป็นปกติหรือทำได้ดีขึ้น สาร
ดังกล่าวมีทั้งในธรรมชาติหรือสามารถสังเคราะห์ขึ้น ช่วยทำให้กลไกการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันดีขึ้นตามมา
ในธรรมชาติดั่งเดิม สารกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายคน เริ่มต้นจากการได้รับน้ำนมเหลื>องจากมารดา ซึ่งถือว่าเป็นสารกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดที่รู้จักกันดี โดยเป็นสายกรดอะมิโน สามารถป้องกันหรือทำลายเชื้อโรค ทั้งแบคทีเรีย ไวรัส ราหรือโปโตซัว ได้เป็นอย่างดี
Transfer Factor ที่พบได้ในน้ำนมเหลืองของวัว เป็นสารชนิดหนึ่งที่เป็นสารธรรมชาติและช่วยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่าง กายได้
เป็นอย่างดี โดยช่วยทั้งกระตุ้นการทำงานของลิมโฟไซด์ (Lyphocyte) กระตุ้นการหลั่งสารไซโตคายน์และควบคุมกลไกการทำงานของระบบ
ภูมิคุ้มกันในร่าง กายได้เป็นอย่างดี
ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันว่า Transfer Factor มีส่วนสำคัญในการรักษาและป้องกันเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส โรคต่างๆ โรคมะเร็ง ภาวะ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Transfer Factor ได้มีการศึกษาและวิจัยทางวิทยาศาสตร์แ
ละทางการแพทย์อย่
แนวคิดใหม่ในการพัฒนากลไกการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและฟื้นฟูระบบภูมิคุ้มกันที่บกพร่อง
ในยุคศตวรรษที่ 20 ก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ปรากฏว่ามีจำนวนคนที่ติดเชื้อเพิ่มขึ้นขณะเดียวกันได้มีการเจริญและพัฒนาสาย พันธุ์ของเชื้อชนิดต่างๆ
มากขึ้น การติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสที่เพิ่มขึ้น นอกจากเกิดจากการพัฒนาของตัวเชื้อแล้ว ในคนที่ติดเชื้อยังพบว่าภายในร่างกายก็มีระบบภูมิคุ้มกันที่ไม่ดีพอ ดัง
นั้นจึงถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญทั้งจากภายนอกและภายในที่ทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามได้
ปัญหาในการรักษาหรือความพยายามในการใช้ยาปฏิชีวนะในการฆ่าเชื้อยังมีอยู่ เนื่องจากการดื้อยาหรือการพัฒนาสายพันธุ์ของตัวเชื้อ ดังนั้นในการ
ป้องกันที่ดีคือการเปลี่ยนรูปแบบเป็นการให้วัคซีนหรือการรักษา ต้านเชื้อจุลินทรีย์ด้วยการให้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน (Immunomodulator) ซึ่งสามารถจะกระตุ้นระบบ
ภูมิคุ้มกันที่จำเพาะและไม่จำเพาะแก่ร่างกาย โดยการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันดังกล่าวจะสามารถทำให้ร่างกายสามารถทำลายหรือ ฆ่าเชื้อที่เข้าสู่ร่างกายได้ทันที
สิ่งแปลกปลอมที่ถือว่าเป็นแอนติเจน (antigen) ในระยะแรก ร่างกายจะมีการทำลายโดยเซลล์เม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล (Neutrophil)และ แมคโคฟาจ
(Macrophage) กินโดยตรงและมีการปล่อยเอนไซม์หรือสารย่อยทำลายเชื้อโรคโดยตรง ขณะเดียวกันกระบวนการปล่อยสารที่เป็นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายเริ่ม
ทำงานแบบ ไม่จำเพาะ (Humoral immunity linked non-specific factors) ทำให้เม็ดเลือดขาวในกระแสเลื>อดสามารถผ่านผนังเส้นเลือดมายังเนื้อเยื่อที่มี เชื้ออยู่
แล้วไปกินเชื้อโรคโดยตรง ทำให้เกิดกระบวนการอักเสบระยะเฉียบพลัน (Acute inflammatory antimicrobial reaction)
นอกจากนี้แล้วเซลล์ B-lymphocyte และ Plasma cells จะมีการหลั่งสารแอนติบอดี (antibodies) ซึ่งเป็นสาระสำคัญในระบบภูมิคุ้
ชนิด ได้แก่ IgA, IgM, IgG, IgE หรือ IgD
นอกเหนือจาก B-lymphocyte แล้ว T-lymphocyte เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างมากในระบบภูมิคุ้มกัน ในร่างกายบนตัว
ของ T-lymphocyte จะมีตัวจับสัญญาณต่อเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายที่จำเพาะเจาะจงมาก และได้มีการแบ่งตัวกลายเป็น T-helper (Th) ซึ่งจะทำให้มีการกระตุ้นการ
ทำงานของ T-cell ในรูปแบบของ Cytotoxic T-lymphocyte cละ T-suppressor (Ts) เพื่อติดตามประสิทธิภาพของการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและการทำงานของ
เซลล์ Natural killer cell (NK cell) ต่อไป
สารไซโตคาย์ (Cytokines) ที่สำคัญคือ อินเตอร์ลิวคิน (interleukin) ชนิดต่างๆ ได้แก่ IL-2, IL-4, INF-a, INF-g ที่หลั่งออกมาจาก T-helper
lymphocyte หรือ IL-1 จากแมคโคฟาจน์ จะทำหน้าที่ในการกระตุ้นแมคโคฟาจน์ เพื่อไปทำลายเชื้อและทำให้สิ่งแปลกปลอมดังกล่าวให้มีขนาดที่เล็กลง และกลายเป็น
สารแอนติเจน (antigen) ที่จะไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกั
ประมาณ 4 ชั่วโมงหลังการติดเชื้อ และออกฤทธิ์ได้นานถึง 4 วัน หากในภาวะที่ร่างกายมีการติดเชื้อหรืออักเสบแบบเรื้อรัง (chronic infection-inflammation) การก
ระตุ้นด้วยกระบวนดังกล่าวขั้นตอนจะไม่เกิดขึ้นในเด็กที่ได้รับวัคซีนไปแล้วเป็นระยะเวลานาน ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายอาจไม่คงที่หรือลงลงตามระยะเวลา หากได้รับ
เชื้อที่แรงกว่า ระบบภูมิคุ้มกันก็อาจไม่
ทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในเด็กมักประสบปัญหาหรือป่วยด้วยโรคติดเชื้อหรืออักเสบ ในระบบทางเดินหายใจได้บ่อย
แนวทางการรักษาที่เป็นไปได้ในทางการแพทย์คือ การให้สารกระตุ้นระบบการทำงานของ monocytic-macrophage ได้แก่ Sodium mucleinate,
myelopid, likopid, polyoxidomy, Echinacea อาจทำได้ รวมไปถึงการใช้สารกระตุ้น Macrophage, B และ T-lymphocytes ได้แก่ Thymus products, pirogenal,
prodigiosan เป็นต้น ในการใช้สารต่างๆ นั้นพบว่าก็ยังมีผลทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายเพิ่มขึ้นไม่เกิน 30-50% ของที่มีอยู่เดิม
Transfer Factor
Transfer Factor ที่ถูกค้นพบตั้งแต่ปี ค.ศ.1949 โดย H.S. Lawrence มีลักษณะโครงสร้างเป็นสารเปปไทด์ที่มีกรดอะมิโนเพียง 44 ตัว และมีน้ำหนักน้อย
กว่า 10,000 ดาลตัน (3,500-5,000 ดาลตัน) พบว่ามีความสามารถในการกระตุ้นทั้ง T-suppressor, T-killer และ macrophage
Transfer Factor มีคุณสมบัติที่โดดเด่นคือ สามารถถ่ายทอด CMI หรือ DTH ที่จำเพาะจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได้ และไม่เป็นพิษต่อผู้รับ
Transfer Factor ภัณฑ์ที่ไม่ก่ออาการแพ้ในคน ปราศจากเคซีน, Lactogloulins และโปรตีนขนาดใหญ่ (ซึ่งเป็นสารก่อภูมิแพ้นม) แต่มีส่วนที่สามารถ
กระตุ้นไซโตคายน์ในร่างกายได้ โดยคณะกรรมการ Academician AA Vorobiv ของ Russian Academy of Medical Sciences ได้ชี้ชัดว่าสามารถนำไปใช้ในเด็กและ
ผู้ใหญ่ได้ โดยไม่มีข้อห้ามในการใช้และปลอดภัยในคนอย่างมาก
ในการทำงานของ Transfer Factor ในร่างกายนั้นมีหน้าที่ 3 แบบ คือ Inducer, Antigen specific หรือ Suppressor ขึ้นอยู่กับความบกพร่องของระบบ
ภูมิคุ้มกันในร่างกายคนมากน้อยเพียงใด แต่กลไกการทำงานของ Transfer Factor มีหลากหลาย แต่ที่สำคัญคือการกระตุ้นเซลล์ Macrophage
และ Cytotoxic T-lymphocyte
Transfer Factor สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาอื่นๆ ได้ เพื่อช่วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายดีขึ้นได้ แต่จากการศึกษาในห้องปฏิบัติ
ransfer Factor มีคุณสมบัติในการกระตุ้
การใช้ Transfer Factor ในกลุ่มโรคต่างๆ
ข้อเสนอแนะในการใช้ Transfer Factor
|
|
|